Category Archives: กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร is the position for activity in post to be presented at the first rank on Google page search by the focus keyword in category.
กรุงเทพมหานคร  เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย

ไปยังการนำทางไปยังการค้นหา

สำหรับความหมายอื่น ดูที่ กรุงเทพ
กรุงเทพมหานคร
บางกอก
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ
เรียงตามเข็มนาฬิกาจากบนสุด: วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร, เสาชิงช้า, วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร, พระที่นั่งอนันตสมาคม, ทิวทัศน์กลางคืนที่ สวนลุมพินี และ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม

ธงของกรุงเทพมหานคร
ธง
ตราอย่างเป็นทางการของกรุงเทพมหานคร
ตรา
คำขวัญ:

  • กรุงเทพฯ ดุจเทพสร้าง
    เมืองศูนย์กลางการปกครอง
    วัดวังงามเรืองรอง
    เมืองหลวงของประเทศไทย[1]
แผนที่ประเทศไทยเน้นกรุงเทพมหานคร

แผนที่ประเทศไทยเน้นกรุงเทพมหานคร
พิกัดภูมิศาสตร์: 13°45′0″N 100°31′1.20″Eพิกัดภูมิศาสตร์13°45′0″N 100°31′1.20″E
ประเทศ  ไทย
ภูมิภาค ภาคกลาง
ก่อตั้ง 21 เมษายน พ.ศ. 2325
ก่อตั้ง (นคร) 14 ธันวาคม พ.ศ. 2515
ผู้ก่อตั้ง พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
ศาลาว่าการ เลขที่ 173 ถนนดินสอ แขวงเสาชิงช้า เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร 10200
การปกครอง
 • ประเภท องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ
 • ผู้ว่าราชการ อัศวิน ขวัญเมือง
 • ปลัดกรุงเทพมหานคร ศิลปสวย ระวีแสงสูรย์
พื้นที่
 • องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ 1,568.737 ตร.กม. (605.693 ตร.ไมล์)
 • รวมปริมณฑล 7,761.6 ตร.กม. (2,996.8 ตร.ไมล์)
ประชากร (พ.ศ. 2562)
 • องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ 10,820,921 (ประมาณจำนวนประชากรทั้งขึ้นทะเบียนราษฎร และไม่ขึ้นทะเบียนราษฎร)
 • รวมปริมณฑล 10,624,700
 • ความหนาแน่นรวมปริมณฑล 1,400 คน/ตร.กม. (3,500 คน/ตร.ไมล์)
เขตเวลา Thailand (UTC+7)
รหัสไปรษณีย์ 10###
รหัสพื้นที่ 02
โทรศัพท์ (+66) 0 2246 0301-3
เว็บไซต์ bangkok.go.th
สารานุกรมประเทศไทย ส่วนหนึ่งของสารานุกรมประเทศไทย

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม. มีประชากรตามทะเบียนราษฎรกว่า 5 ล้านคน ทำให้กรุงเทพมหานครเป็นเอกนคร (Primate City) จัด มีผู้กล่าวว่า กรุงเทพมหานครเป็น “เอกนครที่สุดในโลก” เพราะมีประชากรมากกว่านครที่มีประชากรมากเป็นอันดับ 2 ถึง 40 เท่า[2]

 

การบริหาร[แก้]

ตราประจำจังหวัดพระนคร

ตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528[42] กำหนดให้กรุงเทพมหานครมีสถานะเป็นนิติบุคคล และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ มีผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร มาจากการเลือกตั้งโดยตรง และเป็นผู้รับผิดชอบในการบริหารงาน อยู่ในตำแหน่งตามวาระคราวละสี่ปี นับแต่วันเลือกตั้ง แต่ต้องดำรงตำแหน่งไม่เกิน 2 วาระติดต่อกัน[43]โดยมีฝ่ายนิติบัญญัติ คือสภากรุงเทพมหานคร ที่ได้รับการเลือกตั้งจากชาวกรุงเทพมหานครเช่นกัน ดำเนินงานร่วมด้วย

พลตำรวจเอก อัศวิน ขวัญเมือง เป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครคนปัจจุบัน โดยดำรงตำแหน่งในวันทื่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2559 รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร 4 รายได้แก่ พล.อ.จีระศักดิ์ ชมประสพ นายสกลธี ภัททิยกุล นายศักดิ์ชัย บุญมา พล.ต.ท.โสภณ พิสุทธิวงษ์

นางศิลปสวย ระวีแสงสูรย์ เป็นปลัดกรุงเทพมหานคร ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2559 นาง วัลยา วัฒนรัตน์[44] เป็น รองปลัดกรุงเทพมหานคร ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2562

ผู้บัญชาการตำรวจนครบาลคนปัจจุบัน คือ พลตำรวจโท สุทธิพงษ์ วงษ์ปิ่น

มีที่ทำการตั้งอยู่ที่วังปารุสกวัน ทำหน้าที่ควบคุมดูแลเหตุอาชญากรรมการจราจรและงานปราบปรามยาเสพติดในกรุงเทพมหานคร

การแบ่งเขตการปกครอง[แก้]

เขต[แก้]

ดูบทความหลักที่: เขต (หน่วยการปกครอง)

แผนที่แสดงเขต 50 เขตของกรุงเทพมหานคร

รายชื่อเขต 50 เขตของกรุงเทพมหานคร

  1. เขตพระนคร
  2. เขตดุสิต
  3. เขตหนองจอก
  4. เขตบางรัก
  5. เขตบางเขน
  6. เขตบางกะปิ
  7. เขตปทุมวัน
  8. เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย
  9. เขตพระโขนง
  10. เขตมีนบุรี
  11. เขตลาดกระบัง
  12. เขตยานนาวา
  13. เขตสัมพันธวงศ์
  14. เขตพญาไท
  15. เขตธนบุรี
  16. เขตบางกอกใหญ่
  17. เขตห้วยขวาง
  18. เขตคลองสาน
  19. เขตตลิ่งชัน
  20. เขตบางกอกน้อย
  21. เขตบางขุนเทียน
  22. เขตภาษีเจริญ
  23. เขตหนองแขม
  24. เขตราษฎร์บูรณะ
  25. เขตบางพลัด
  1. เขตดินแดง
  2. เขตบึงกุ่ม
  3. เขตสาทร
  4. เขตบางซื่อ
  5. เขตจตุจักร
  6. เขตบางคอแหลม
  7. เขตประเวศ
  8. เขตคลองเตย
  9. เขตสวนหลวง
  10. เขตจอมทอง
  11. เขตดอนเมือง
  12. เขตราชเทวี
  13. เขตลาดพร้าว
  14. เขตวัฒนา
  15. เขตบางแค
  16. เขตหลักสี่
  17. เขตสายไหม
  18. เขตคันนายาว
  19. เขตสะพานสูง
  20. เขตวังทองหลาง
  21. เขตคลองสามวา
  22. เขตบางนา
  23. เขตทวีวัฒนา
  24. เขตทุ่งครุ
  25. เขตบางบอน

ประชากร[แก้]

สถิติประชากรตามทะเบียนราษฎร
กรุงเทพมหานคร[45]
ปี (พ.ศ.) ประชากร
2550 5,716,248
2551 5,710,883
2552 5,702,595
2553 5,701,394
2554 5,674,843
2555 5,673,560
2556 5,686,252
2557 5,692,284
2558 5,696,409
2559 5,686,646
2560 5,682,415

ปี พ.ศ. 2558 เขตสายไหม เป็นเขตที่มีประชากรมากที่สุดในกรุงเทพมหานครแทนที่ เขตบางแค มีจำนวนประชากรทั้งสิ้น 197,715 ราย

ปี พ.ศ. 2554 กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีประชากรหนาแน่นอันดับที่ 13 ของโลก[46] ทั้งนี้ เนื่องจากประชากรในกรุงเทพมหานครนั้นมีทั้งที่เป็นแรงงานข้ามชาติ ประชาชนจากต่างจังหวัด ซึ่งไม่ได้ขึ้นทะเบียนราษฎรที่กรุงเทพมหานครจำนวนมาก

เศรษฐกิจ[แก้]

กรุงเทพมหานครมีรายได้หลักจากการเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม[47]โดยในอดีตที่ผ่านมารายได้นี้มีมากกว่าเงินที่รัฐบาลสนับสนุน

กรุงเทพมหานครเป็นเมืองเศรษฐกิจหลักของประเทศไทย ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศร้อยละ 25 มาจากรุงเทพมหานคร[48] ซึ่งมาจากการค้าปลีกและค้าส่งมากที่สุด ร้อยละ 24.31 รองลงมาได้แก่ อุตสาหกรรมโรงงาน ร้อยละ 21.23 อุตสาหกรรมขนส่งและอุตสาหกรรมสื่อสาร ร้อยละ 13.89 โรงแรมและภัตตาคาร ร้อยละ 9.04

กรุงเทพมหานครยังเป็นอีกเมืองหนึ่งที่กลุ่มทุนข้ามชาติต้องการเข้ามาทำธุรกิจในกรุงเทพมหานครอย่างต่อเนื่อง โดยใน พ.ศ. 2529 บริษัทญี่ปุ่นต่าง ๆ ได้ดำเนินการอย่างจริงจังในการเคลื่อนไหวที่จะย้ายฐานการผลิตออกสู่ต่างประเทศ เป้าหมายหนึ่งคือ ที่กรุงเทพมหานคร[49]

จากการขยายธุรกิจของต่างชาติส่งผลให้มีการจ้างแรงงานต่างด้าวเข้ามาทำงานในกรุงเทพมหานครจำนวนมาก[50] ส่วนใหญ่มาจากประเทศเพื่อนบ้าน ซึ่งเป็นตัวเร่งให้เกิดปัญหาความแออัดในกรุงเทพมหานครมากขึ้น แรงงานต่างด้าวเหล่านี้ถูกยกเป็นข้อสนับสนุนและเป็นหลักฐานว่า กรุงเทพมหานครกำลังเผชิญกับภาวะการขาดแคลนแรงงานเพราะโครงสร้างประชากรในวัยทำงานลดน้อยลง[51]

การคมนาคมเข้าสู่กรุงเทพมหานครมีมากกว่าจังหวัดอื่น เช่น ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ท่าอากาศยานดอนเมือง รวมถึงถนนในกรุงเทพมหานครที่มีจำนวนกว่า 250 สาย กรุงเทพมหานครเป็นที่ตั้งของนิคมอุตสาหกรรม 4 แห่ง[52] ได้แก่ นิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง นิคมอุตสาหกรรมบางชัน นิคมอุตสาหกรรมอัญธานี โครงการ 2 และ นิคมอุตสาหกรรมอัญธานี

อนึ่ง เมื่อปี พ.ศ. 2552 เป็นปีแรกในรอบ 5 ปี ซึ่งโครงสร้างเศรษฐกิจของกรุงเทพมหานครหดตัวลง ยกเว้นภาคธนาคารและภาคบริหารของรัฐ[48] และในปี พ.ศ. 2557 อีโคโนมิสต์ อินเทลลิเจนซ์ ยูนิต (อีไอยู) หน่วยงานวิจัยในเครือ อีโคโนมิสต์ กรุ๊ป รายงานการจัดอันดับ เมืองที่มีค่าครองชีพสูงที่สุดในโลกประจำปี ผลปรากฏว่า กรุงเทพมหานครอยู่ในอันดับที่ 61[53]

ในปี พ.ศ. 2559 รายงานการศึกษาตลาดอสังหาริมทรัพย์ประเภทศูนย์การค้าจากบริษัทที่ปรึกษาและบริการด้านอสังหาริมทรัพย์ เจแอลแอล (โจนส์ แลง ลาซาลล์) เปิดเผยว่า กรุงเทพฯ เป็นเมืองที่มีแบรนด์ระหว่างประเทศสนใจเข้ามาเปิดร้านจำหน่ายสินค้ามากที่สุดเป็นอันดับที่ 18 ของโลก[54]

ตำบลดอนเกาะกา หลังคา แซนวิช พียูโฟม

ถนนฉิมพลี แซนวิช หลังคา พียู โฟม

ถนนฉิมพลี แซนวิช หลังคา พียู โฟม ถนนฉิมพลี แซนวิช หลังค […]

เขตตลิ่งชัน แซนวิช หลังคา พียู โฟม

เขตตลิ่งชัน แซนวิช หลังคา พียู โฟม เขตตลิ่งชัน แซนวิช ห […]

สี่แยกมหานาค แซนวิช หลังคา พียู โฟม

สี่แยกมหานาค แซนวิช หลังคา พียู โฟม สี่แยกมหานาค แซนวิช […]

แขวงสวนจิตรลดา แซนวิช หลังคา พียู โฟม

แขวงสวนจิตรลดา แซนวิช หลังคา พียู โฟม แขวงสวนจิตรลดา แซ […]

แขวงวชิรพยาบาล แขวงวชิรพยาบาล

แขวงวชิรพยาบาล แขวงวชิรพยาบาล แขวงวชิรพยาบาล แขวงวชิรพย […]

แขวงถนนนครไชยศรี แซนวิช หลังคา พียู โฟม

แขวงถนนนครไชยศรี แซนวิช หลังคา พียู โฟม แขวงถนนนครไชยศร […]

แขวงดุสิต แซนวิช หลังคา พียู โฟม

แขวงดุสิต แซนวิช หลังคา พียู โฟม แขวงดุสิต แซนวิช หลังค […]

ถ.เทอดดำริ แซนวิช หลังคา พียู โฟม

ถ.เทอดดำริ แซนวิช หลังคา พียู โฟม ถ.เทอดดำริ แซนวิช หลั […]

ถ.เตชะวณิช แซนวิช หลังคา พียู โฟม

ถ.เตชะวณิช แซนวิช หลังคา พียู โฟม ถ.เตชะวณิช แซนวิช หลั […]

Call Now Button